โลโก้เว็บไซต์ ข้อมูลตามตัวชี้วัด SDG ประจำปี 2023-2024 | งานยุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา

ข้อมูลตามตัวชี้วัด SDG ประจำปี 2023-2024


จำนวนงบประมาณจากภาคอุตสาหกรรม ภายใต้การดำเนินงานของ กลุ่มงานยุทธศาสตร์ SPU 

(แสดงสรุปผลการดำเนินงานภายใต้กลุ่มงานยุทธศาสตร์ SPU ประจำปีงบประมาณ 2566 (university spin-offs) จำนวน 48 โครงการ ผ่าน website https://sdgs.rmutl.ac.th/ >>> https://sdgs.rmutl.ac.th/9/spu-2566/)

 

ตัวชี้วัด SDGs 9.4 Research income from industry and commerce

ตัวชี้วัด

จำนวนเงิน (บาท)

9.4.1 Research income from industry and commerce: Total

งบประมาณจากภาคอุตสาหกรรม รวม

4,971,671 บาท

 

9.4.1.1 Research income from industry and commerce by subject area: STEM

งบประมาณจากภาคอุตสาหกรรม STEM

1. คณะวิศวกรรมศาสตร์

2. คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร

3. วิทยาลัยเทคโนโลยีและสหวิทยาการ

4. สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร

4,671,371 บาท

1. ITAP จำนวน 1,768,671 บาท

2. TRM จำนวน 714,300 บาท

3. Pre-TM จำนวน 74,400 บาท

4. Talent Mobility จำนวน 2,114,000 บาท

 

9.4.1.2 Research income from industry and commerce by subject area: Medicine

งบประมาณจากภาคอุตสาหกรรม ยา

9,000 บาท

1. Pre-TM จำนวน 9,000 บาท

9.4.1.3 Research income from industry and commerce by subject area: Arts & Humanities / Social Sciences

งบประมาณจากภาคอุตสาหกรรม

1. คณะศิลปกรรมและสถาปัตยกรรมศาสตร์

2. คณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์

291,300 บาท

1. TRM จำนวน 164,300 บาท

2. Pre-TM จำนวน 27,000 บาท

3. Talent Mobility จำนวน 100,000 บาท

 

จากการดำเนินงานของกลุ่มงานยุทธศาสตร์ SPU ในปีงบประมาณ 2566 มีการสนับสนุนสถานประกอบการ จำนวนทั้งสิ้น 48 โครงการ โดยดำเนินงานภายใต้โครงการของกลุ่มงานยุทธศาสตร์ SPU ดังนี้

1. โครงการแพลตฟอร์มบริหารจัดการทรัพยากรผู้มีศักยภาพผู้มีศักยภาพของกลุ่มมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล เพื่อปฏิรูประบบการพัฒนากำลังคนของประเทศ (Talent Resource Management: TRM) จำนวน 22 โครงการ

2. โปรแกรมสนับสนุนการพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรม (Innovation and Technology Assistance Program: ITAP) จำนวน 7 โครงการ

3. โครงการเพื่อเคลื่อนย้ายส่งเสริมให้บุคลากรวิจัยในสถาบันอุดมศึกษาไปปฏิบัติงานเพื่อแก้ไขปัญหาและเพิ่มขีดคามสามารถในการผลิตให้กับภาคอุตสาหกรรม (Talent Mobility) จำนวน 6 โครงการ

4. โครงการการเคลื่อนย้ายบุคลากรเพื่อพัฒนาศักยภาพการวิจัยในภาคอุตสาหกรรมของสถาบันอุดมศึกษา Pre-Talent Mobility จำนวน 13 โครงการ

          ได้รับงบประมาณโครงการจากทั้งภาครัฐและภาคอุตสาหกรรม จำนวนเงินทั้งสิ้น 10,176,413 บาท โดยแบ่งเป็น ภาครัฐ จำนวน 5,204,742 บาท และภาคอุตสาหกรรม จำนวน 4,971,671 บาท มีบุคลากรร่วมดำเนินโครงการ จำนวน 45 ราย จากสถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร ลำปาง จำนวน 1 ราย, วิทยาลัยเทคโนโลยีและสหวิทยาการ จำนวน 4 ราย, คณะวิศวกรรมศาสตร์ จำนวน 25 ราย, คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร จำนวน 6 ราย, คณะบริหารธุรกิจและศิลปะศาสตร์ จำนวน 8 ราย และคณะศิลปกรรมและสถาปัตยกรรมศาสตร์ จำนวน 1 ราย

          โดยแบ่งตามประเภทอุตสาหกรรมดังนี้ ด้านการเกษตรและเทคโนโลยีชีวภาพ จำนวน 9 โครงการ, ด้านการท่องเที่ยวกลุ่มรายได้ดี และท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ จำนวน 6 โครงการ, ด้านแปรรูปอาหาร จำนวน 16 โครงการ, ด้านยานยนต์สมัยใหม่ จำนวน 1 โครงการ, ด้านหุ่นยนต์เพื่ออุตสาหกรรม จำนวน 1 โครงการ, ด้านอิเล็กทรอนิกส์อัจฉริยะ จำนวน 7 โครงการ และด้านอื่น ๆ จำนวน 8 โครงการ

ตารางงบประมาณโครงการจากภาครัฐและภาคอุตสาหกรรม ประจำปี 2566

ลำดับ

โครงการ

จำนวนโครงการ

ภาครัฐ (บาท)

ภาคอุตสาหกรรม

(บาท)

1

Talent Resource Management: TRM

22

1,728,400

878,600

2

Innovation and Technology Assistance Program: ITAP

7

918,342

1,768,671

3

Talent Mobility

6

2,186,000

2,214,000

4

Pre-Talent Mobility

13

372,000

110,400

 

รวม

48

5,204,742

4,971,671

 

ออกแบบและพัฒนาโดย สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา